โครงการพัฒนาระบบใหม่
โรงขนมจีน หาดใหญ่
เสนอ
อาจารย์ นพศักดิ์ ตันติสัตยานนท์
จัดทำโดย
นายทินกฤต อำภาไพ รหัส 2571031441330
นายอภิสิทธิ์ เดชสุวรรณ รหัส 2571031441317
นายจิรภัทร เชิดวงศ์ตระกูล รหัส 2571031441314
คณะ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
วิทยาเขตวังไกลกังวล
โรงงานขนมจีน
หาดใหญ่
ประวัติความเป็นมา
ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2510
เจ้าของคนแรกชื่อ นางซร้วง แซ่ตั้น ก่อตั้งที่ 130 ถนนประชาธิปัตย์ตำบลหาดใหญ่
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ต่อมาได้ยกให้นายคงศักดิ์
เชิดวงศ์ตระกูลเป็นผู้ดูแลกิจการต่อ แต่เดิมเป็นกิจการภายในครอบครัวที่บริหารงานกันเอง
และยังเป็นการผลิตแบบดั้งเดิมคือใช้แรงงานทั้งหมดในการผลิต
ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเป็นการใช้เครื่องจักรเข้ามาช่วยเหลือทำให้การผลิตเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและทันต่อความต้องการของลูกค้า
อีกทั้งเป็นโรงงานที่ผลิตเส้นขนมจีนที่เก่าแก่แห่งหนึ่งในเมืองหาดใหญ่
บทบาทและหน้าที่
1. ฝ่ายบัญชี
จัดการด้านการเงินที่เกี่ยวข้องกับโรงงาน
เพื่อให้ดำเนินกิจการไปตามแผนที่วางไว้และมีหน้าที่ดูแลและบันทึก
จัดเตรียมเงินสด การรับเงิน การจัดเก็บเงิน การนำเงินฝากธนาคาร รวมทั้งตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกรายการทางการเงิน
ปัญหาของแผนกบัญชี
1.เอกสารมีจำนวนมาก
2.ค้นหาเอกสารได้ยาก เพราะ
ไม่มีระบบจัดการเอกสาร
3.เอกสารสูญหายได้ง่าย
2.ฝ่ายวัตถุดิบ
ฝ่ายวัตถุดิบเป็นฝ่ายที่จัดหาวัตถุดิบในการผลิตเส้นขนมจีน
เช่น การจัดหาแป้งขนมจีนส่วนผสมอื่น ๆ ติดต่อกับผู้ค้าวัตถุดิบ ต่อรองราคา
ปัญหาของฝ่ายวัตถุดิบ
1.ไม่สามารถตรวจวัตถุดิบที่เหลืออยู่ได้ทันที
2.ต้องตรวจสอบวัตถุคงเหลือด้วยตนเอง
3.การตรวจสอบเป็นไปอย่างล่าช้า
3.ฝ่ายการขาย/จัดสั่งสินค้า
มีหน้าที่จำหน่ายสินค้าให้กับลูกค้า โดยแผนกขายจะมีการเก็บข้อมูลของลูกค้าที่มาสั่งซื้อ และข้อมูลการสั่งซื้อ เก็บข้อมูลการขายสินค้า รวมถึงข้อมูลอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาของฝ่ายการขาย
1.ในบางครั้งการสั่งซื้อมีปริมาณมาก
ทำให้วางแผนการตลาดได้ยาก
2.เอกสารของลูกค้าสูญหายได้ง่ายเพราะไม่มีการจัดเก็บที่ดี
3.การตรวจสอบสินค้าที่พร้อมส่งเป็นไปได้ยาก
ปัญหาระหว่างแผนก
แผนกบัญชีและแผนกวัตถุดิบ
1.การตรวจสอบวัตถุดิบมีความล่าช้าทำให้การอนุมัติเงินในการจัดซื้อวัตถุดิบล่าช้าตามไปด้วย
2.เอกสารการสั่งซื้อวัตถุดิบสูญหายทำให้ไม่สามารถอนุมัติเงินเพื่อสั่งซื้อวัตถุดิบได้
แผนกวัตถุดิบและแผนกการขาย
1.การตรวจสอบวัตถุดิบในการผลิตล่าช้าส่งผลให้การผลิตล่าช้าทำให้ส่งสินค้าได้ล่าช้า
2.หากมีการสั่งซื้อเป็นจำนวนมากและฝ่ายวัตถุดิบก็ไม่สามารถตรวจสอบวัตถุดิบที่เหลือได้ทันทีว่ามีปริมาณวัตถุดิบเหลือเท่าใดจึงส่งผลให้การผลิตล่าช้า
แผนกบัญชีและแผนกการขาย
1.บิลเงินสดสูญหายทำให้การตรวจสอบเงินที่ได้รับมีปัญหา
2.การขายสินค้าแบบปลีกขายทำให้ตรวจสอบเงินที่ได้รับเป็นไปได้ยาก
ปัญหาทั้งหมด
1.เนื้อที่จัดเก็บเอกสารมีจำกัด
2.เอกสารมีปริมาณมาก
เช่น บิลเงินสด เอกสารการสั่งซื้อวัตถุดิบ
3.การตรวจสอบเอกสารล่าช้า
ไม่ทันท่วงทีในการใช้งาน
4.เอกสารสูญหายได้ง่าย
5.ไม่สามารถตรวจวัตถุดิบที่เหลืออยู่ได้ทันที
6.ต้องตรวจสอบวัตถุคงเหลือด้วยตนเอง
7.การตรวจสอบวัตถุดิบเป็นไปอย่างล่าช้า
8.ในบางครั้งการสั่งซื้อมีปริมาณมาก ทำให้วางแผนการตลาดได้ยาก
9.เอกสารของลูกค้าสูญหายได้ง่ายเพราะไม่มีการจัดเก็บที่ดี
10.การตรวจสอบวัตถุดิบมีความล่าช้าทำให้การอนุมัติเงินในการจัดซื้อวัตถุดิบล่าช้าตามไปด้วย
11.เอกสารการสั่งซื้อวัตถุดิบสูญหายทำให้ไม่สามารถอนุมัติเงินเพื่อสั่งซื้อวัตถุดิบได้
12.การตรวจสอบวัตถุดิบในการผลิตล่าช้าส่งผลให้การผลิตล่าช้าทำให้ส่งสินค้าได้ล่าช้า
13.หากมีการสั่งซื้อเป็นจำนวนมากและฝ่ายวัตถุดิบก็ไม่สามารถตรวจสอบวัตถุดิบที่เหลือได้ทันทีว่ามีปริมาณวัตถุดิบเหลือเท่าใดจึงส่งผลให้การผลิตล่าช้า
14.บิลเงินสดสูญหายทำให้การตรวจสอบเงินที่ได้รับมีปัญหา
15.การขายสินค้าแบบปลีกขายทำให้ตรวจสอบเงินที่ได้รับเป็นไปได้ยาก
16.ถ้าแผนกขายทำเอกสารการสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าหายจะทำให้การจัดส่งสินค้าผิดพลาดจากจำนวนกาสั่งซื้อได้
17.การทำงบประมาณการเงินทำได้ยาก
เพราะเอกสารมีจำนวนมากและจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ
18.ไม่สามารถจำแนกรายการสินทรัพย์ส่วนตัว
ออกจากสินทรัพย์ของกิจการ
19.เอกสารประกอบการบันทึกบัญชีไม่สมบูรณ์
20.มีความซับซ้อนของขั้นตอนในการอนุมัติการเบิกจ่าย
21.เครื่องมือเครื่องใช้ในการจัดทำบัญชีไม่ทันสมัย
22.จัดทำบัญชีโดยไม่ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี
ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้า และความผิดพลาดในการบันทึกบัญชี
23.ไม่มีระบบการจัดการบริหารเงินในการแยกใช้งบประมาณค่าแรงงานกับค่าสั่งซื้อวัตถุดิบ
24.พนักงานขาดความรู้ความสามารถในการจัดทำบัญชีที่ถูกต้องและครบถ้วน
25.ไม่มีการทำบันทึกรายรับรายจ่ายในบัญชีในแต่ละวัน
26.การสืบค้นบิล/ใบกำกับภาษี/ใบส่งสินค้าและใบแจ้งหนี้
ย้อนหลังไม่มีความถูกต้องชัดเจน อาจทำให้เกิดการเข้าใจผิดได้และล่าช้า
27.มีเอกสารอยู่มากมาย
จึงทำ ให้ต้องเสียเวลาในการค้นหาข้อมูล
บางครั้งเอกสารสูญหายทำให้ข้อมูลสูญหายไปด้วยรวมทั้งสิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บเอกสาร
ขั้นตอนที่ 1
การเลือกสรรโครงการ
ระบบและการแก้ปัญหา
1.ระบบบัญชี
แก้ปัญหา
1.บิลเงินสดสูญหายทำให้การตรวจสอบเงินที่ได้รับมีปัญหา
2.การทำงบประมาณการเงินทำได้ยาก
เพราะเอกสารมีจำนวนมากและจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ
3.มีความซับซ้อนของขั้นตอนในการอนุมัติการเบิกจ่าย
4.เครื่องมือเครื่องใช้ในการจัดทำบัญชีไม่ทันสมัย
5.จัดทำบัญชีโดยไม่ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี
ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้า และความผิดพลาดในการบันทึกบัญชี
6.ไม่มีระบบการจัดการบริหารเงินในการแยกใช้งบประมาณค่าแรงงานกับค่าสั่งซื้อวัตถุดิบ
7.ไม่มีการทำบันทึกรายรับรายจ่ายในบัญชีในแต่ละวัน
2.ระบบตรวจสอบวัตถุดิบ
แก้ปัญหา
1.ไม่สามารถตรวจวัตถุดิบที่เหลืออยู่ได้ทันที
2.ต้องตรวจสอบวัตถุคงเหลือด้วยตนเอง
3.การตรวจสอบวัตถุดิบเป็นไปอย่างล่าช้า
4.การตรวจสอบวัตถุดิบมีความล่าช้าทำให้การอนุมัติเงินในการจัดซื้อวัตถุดิบล่าช้าตามไปด้วย
5.การตรวจสอบวัตถุดิบในการผลิตล่าช้าส่งผลให้การผลิตล่าช้าทำให้ส่งสินค้าได้ล่าช้า
6.ในบางครั้งการสั่งซื้อมีปริมาณมาก
ทำให้วางแผนการตลาดได้ยาก
7.หากมีการสั่งซื้อเป็นจำนวนมากและฝ่ายวัตถุดิบก็ไม่สามารถตรวจสอบวัตถุดิบที่เหลือได้ทันทีว่ามีปริมาณวัตถุดิบเหลือเท่าใดจึงส่งผลให้การผลิตล่าช้า
3.ระบบบันทึกเอกสารสำคัญ
แก้ปัญหา
1.เอกสารมีปริมาณมาก เช่น บิลเงินสด
เอกสารการสั่งซื้อวัตถุดิบ
2.การสืบค้นบิล/ใบกำกับภาษี/ใบส่งสินค้าและใบแจ้งหนี้
ย้อนหลังไม่มีความถูกต้องชัดเจน อาจทำให้เกิดการเข้าใจผิดได้และล่าช้า
3.มีเอกสารอยู่มากมาย จึงทำ
ให้ต้องเสียเวลาในการค้นหาข้อมูล บางครั้งเอกสารสูญหายทำให้ข้อมูลสูญหายไปด้วยรวมทั้งสิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บเอกสาร
4.เอกสารสูญหายได้ง่าย
5.เอกสารของลูกค้าสูญหายได้ง่ายเพราะไม่มีการจัดเก็บที่ดี
6.เอกสารการสั่งซื้อวัตถุดิบสูญหายทำให้ไม่สามารถอนุมัติเงินเพื่อสั่งซื้อวัตถุดิบได้
7.เอกสารประกอบการบันทึกบัญชีไม่สมบูรณ์
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบ
1.เพิ่มประสิทธิภาพให้โรงงาน
2.สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า
3.เพื่อทำให้ดำเนินการผลิตได้รวดเร็ว
4.เพื่อพัฒนาระบบเอกสารให้มีระบบ
ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบใหม่
1.ลดการทำงานที่ล่าช้า
2.ข้อมูลเชื่อมโยงกัน
3.ไม่ต้องจัดเก็บเอกสาร
4.สามารถตัดสินใจได้ทันที
การค้นหาและเลือกสรรโครงการและการประเมินความต้องของโรงงาน
ตารางแสดงรายการการทำงาน (Functions) หรือกิจกรรมทั้งหมดของโรงงาน
ตารางที่ 1
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่และหน่วยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
แสดงการจำแนกกิจกรรม (Activities) ของหน้า ที่การทำงาน (Functions) ในโรงงาน
การวางแผนระบบสารสนเทศ
การประเมินความต้องการสารสนเทศในองค์กร
ตารางสรุปการพิจารณาของโครงการพัฒนาระบบ
ขั้นตอนที่ 2
การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ
การกำหนดความต้องการของระบบ
โครงการในขั้นตอนที่ผ่านมาได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลในเบื้องต้นเพื่อค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นมาบ้างแล้วนั้น
ในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบจึงเริ่ม ต้นด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบ
ในการพัฒนาระบบขึ้นมาใหม่เพื่อให้ฝ่ายวัตถุดิบได้รับประโยชน์ในการดำเนินเกี่ยวกับการผลิตสินค้า
จึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้จริงได้
ขอบเขตของระบบ
1.ระบบมีการแบ่งกันทำงานอย่างเป็นสัดส่วนและข้อมูลสามารถเชื่อมโยงกันได้
2.รองรับการทำงาน
Multi-user ได้
3.ระบบต้องใช้งานง่ายและสะดวก
ความต้องการในระบบใหม่
1.สารมารถเรียกดูข้อมูลวัตถุดิบที่มีในโรงงานได้
2.ทุกฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
3.สามารถค้นหาสิ่งที่ต้องการได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด
4.เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานมากขึ้น
ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการ
นักวิเคราะห์ระบบ
เป็นบุคคลที่มีความรู้ในเรื่องของการทำงานของระบบสารสนเทศที่นำมาใช้ ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ตลอดจนเก็บรวบรวมข้อมูลและติดต่อประสานงานระหว่างผู้ใช้ พนักงานหรือทีมโปรแกรม จัดทำเอกสารของระบบรวมถึงการทดสอบโปรแกรมของระบบ และอื่น ๆ
พนักงานบันทึกข้อมูล
คือบุคคลที่ทำการบันทึกข้อมูลที่นักวิเคราะห์ระบบรวบรวมมาเพื่อทำการเตรียมข้อมูลให้กับโปรแกรมเมอร์ใช้ในขั้นตอนการทำงานต่อไป
โปรแกรมเมอร์
เจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ 2 คน ทำหน้าที่ในการเขียนและติดตั้งโปรแกรมของระบบที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลง รวมทั้งทดสอบโปรแกรมของระบบใหม่
ประมาณการใช้ทรัพยากร
1.เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 3 เครื่อง
2.เครื่องพิมพ์ จำนวน 2 เครื่อง
สรุปงบประมาณที่ใช้ในแต่ละส่วน
1.ส่วนของเจ้าของโรงงาน
ค่าตอบแทนทีมนักพัฒนาโปรแกรมและนักวิเคราะห์ระบบ 45,000 บาท
ค่าการฝึกอบรมพนักเกี่ยวกับระบบใหม่ 150 บาท
ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการใช้งานระบบใหม่ 50,000 บาท
จากรายการดังกล่าวเป็นเพียงการประมาณค่าใช้จ่ายคร่าวๆ ที่ทางโรงงานจ่ายในการปรับปรุงระบบ
ซึ่งอาจมีค่าใช้จ่ายที่มากกว่านี้เพราะในการจัดซื้ออุปกรณ์อาจไม่ได้ตามที่กำหนด
ประมาณระยะเวลาดำเนินงาน
แบบจำลองขั้นตอนการทำงาน
(DFD)
จากแผนภาพดังกล่าวจะเห็นได้ว่าผู้ที่จะสามารถบันทึกข้อมูลจำนวนหรือแก้ไขจำนวนวัตถุดิบได้นั้นมีแต่หัวหน้างานเท่านั้น
เพื่อทำให้ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมากกว่าการให้พนักงานแก้ไขข้อมูล
ส่วนพรักงานสามารถขอดูจำนวนรายการวัตถุดิบได้เพียงเท่านั้น เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาของการกรอกข้อมูลที่ซ้ำกัน
และยังลดปัญหาที่อาจเกิดได้จากการกลั่นแกล้งของพนักงาน
สรุปผลสำหรับเจ้าของกิจการ
จากการศึกษาข้อมูลที่ได้รวบรวมมาจากโรงงาน
ส่วนใหญ่พนักงานยังขาดความรู้ทางด้านการใช้เทคโนโลยี ดังนั้นทางโรงงานจึงต้องมีการจัดอบรมการฝึกใช้งานระบบใหม่ให้แก่พนักงานหรือบุคลากรทีเกี่ยวข้องกับระบบ
ทางทีมนักพัฒนาได้จัดทำรายงานสรุปสำหรับเจ้าของโรงงานเพื่อให้ทราบขั้นตอนต่าง ๆ
เพื่อความเข้าใจง่าย 2 ด้านดังนี้
1.ด้านเทคนิค
เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ของระบบใหม่
2.ด้านการปฏิบัติงาน
เกี่ยวกับการทดสอบการทำงานของระบบใหม่ที่นำมาใช้มีผลต่อโรงงานอย่างไร
ตรงตามความต้องการของโรงงาน
ขั้นตอนที่ 3
การกำหนดความต้องการของระบบ
เมื่อการพัฒนาระบบใหม่ได้รับการอนุมัติจากการนำเสนอโครงการในขั้นตอนที่ผ่านมา
ทางทีมงานเริ่มด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ในการกำหนดความต้องการของระบบใหม่
ทีมงานเลือกใช้วิธีการออกแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามคือหัวหน้าคนงานและพนักงานทุก ๆ
คน
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากประสบการณ์จริงของคนงานว่าต้องการระบบใหม่อย่างไร
การเก็บรวบรวมสารสนเทศที่จำเป็น
(แบบสอบถาม)
ตัวอย่างแบบสอบถาม
ความต้องการในระบบใหม่
1
สามารถบันทึกข้อมูลวัตถุดิบได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
2 สามารถเพิ่มจำนวนวัตถุดิบได้ง่าย รวดเร็ว
3 ข้อมูลในระบบสามารถเชื่อมโยงไปยังส่วนอื่นๆได้ แต่จะต้องทำการเข้า Login ก่อน
4 สามารถเช็คดูจำนวนวัตถุดิบในสต๊อกได้
5 สามารถค้นหาข้อมูลของวัตถุดิบได้สะดวกรวดเร็ว
2 สามารถเพิ่มจำนวนวัตถุดิบได้ง่าย รวดเร็ว
3 ข้อมูลในระบบสามารถเชื่อมโยงไปยังส่วนอื่นๆได้ แต่จะต้องทำการเข้า Login ก่อน
4 สามารถเช็คดูจำนวนวัตถุดิบในสต๊อกได้
5 สามารถค้นหาข้อมูลของวัตถุดิบได้สะดวกรวดเร็ว
ความต้องการของผู้ใช้กับระบบงานใหม่
จากการรวบรวมความต้องการของระบบใหม่
จึงได้นำมาวิเคราะห์หาขั้นตอนการทำงานของระบบใหม่ตามความต้องการดังนี้
1. สามารถเรียกดูข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น
2. สามารถแก้ไข ปรับปรุงข้อมูลได้โดยสะดวก
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
4. พนักงานทุกฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
1. สามารถเรียกดูข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น
2. สามารถแก้ไข ปรับปรุงข้อมูลได้โดยสะดวก
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
4. พนักงานทุกฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
5. มีการใช้งานที่ง่ายไม่สับซ้อน
6. มีการพิมพ์รายงานจำนวนวัตถุดิบคงเหลือ
6. มีการพิมพ์รายงานจำนวนวัตถุดิบคงเหลือ
ขั้นตอนที่ 4
การออกแบบเชิงตรรกะ
จากการวิเคราะห์ความต้องการในระบบใหม่ทีรวบรวมมาจากการออกแบบสอบถาม สามารถจำลองเป็นแผนภาพกระแสข้อมูล (DFD)
ได้ดังนี้
CONTEXT DIAGRAM
Level 0 Diagram
คนงาน
เจ้าของกิจการ
Level 1 Diagram
หัวหน้าคนงาน
คนงาน
เจ้าของกิจการ
แบบจำลองข้อมูล
(Data
Modeling)
นอกจากการจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ
(Process Modeling) ด้วยแผ่นภาพกระแสข้อมูล
(Data Flow Diagrma) ในการกำหนดความต้องการของระบบแล้วยังต้องจำลองข้อมูล
(Data Modeling) ทั้งหมดในระบบด้วยแผนภาพแสดงความสัมพัทธ์ระหว่างข้อมูล
(Entity Relationship Diagram: E-R Diagram) โดยข้อมูลนั้นมีความหมายรวมทั้งแต่ข้อมูลที่อยู่บนเอกสารหรือรายงานต่าง
ๆ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบ ซึ่งแบบจำลองทั้ง 2 ที่แสดงให้เห็นเป็นแบบจำลองของระบบตรวจสอบวัตถุดิบ
ในระบบตรวจสอบวัตถุดิบสามารถสร้าง E-R Diagram ตามขั้นตอนต่อไปนี้
สร้าง Relationship ให้กับ Entity
1.พนักงาน หลายคนสามารถ ดู
ข้อมูลวัตถุดิบได้หลายอย่าง
2.วัตถุดิบหลายอย่างสามารถ เพิ่ม ได้จากหัวหน้างาน 1 คน
3.วัตถุดิบหลายอย่างสามารถ เพิ่ม ได้จากเจ้าของโรงงาน
1 คน
4.หัวหน้างาน 1 คน สามารถ แก้ไข
ข้อมูลวัตถุดิบได้หลายชิ้น
5.เจ้าของกิจการ 1 คน สามารถ แก้ไข
ข้อมูลวัตถุดิบได้หลายชิ้น
6.เจ้าของกิจการ 1 คน สามารถ ลบ ข้อมูลวัตถุดิบได้หลายชิ้น
จากเงื่อนไขข้างต้นสามารถนำมากำหนดความสำพันธ์ (Relationship) ได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ 5
การออกแบบเชิงกายภาพ
เป็นขั้นตอนที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงานทางกายภาพ
หรือ ที่แสดงให้เห็นได้ โดยระบุถึงคุณลักษณะหรืออุปกรณ์ที่นำมาใช้
ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ฐานข้อมูล สิ่งที่ได้จากขั้นตอนการออกแบบกายภาพนี้จะเป็นข้อมูลของการออกแบบเพื่อส่งให้โปรแกรมเมอร์ทำการเขียนโปรแกรมตามลักษณะที่ได้ออกแบบไว้
การออกแบบนั้นจะขึ้นอยู่กับองค์กรว่าจะต้องมีข้อมูลในส่วนใดบ้าง
และจะมีการกำหนดสิทธิในการเข้าใช้งาน โดยสิทธิการเข้าใช้งานจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ตามที่ได้ตกลงกับเจ้าของโรงงานไว้ เพื่อป้องกันการไม่ประสงค์ดีต่อโรงงาน
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้
(Graphic
User Interface) เป็นการออกแบบหน้าจอโปรแกรม
เพื่อให้ผู้ใช้งานได้โต้ตอบกับผู้ใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ในปัจจุบันนิยมการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบ
Graphic
หน้าต่างแสดงตัวเลือกก่อนเข้าใช้งาน
หน้าต่างการ Login เพื่อเข้าใช้งานของตัวเลือก
หัวหน้างานและเจ้าของโรงงาน
หน้าต่างแสดงการเพิ่ม แก้ไขข้อมูลของหัวหน้างาน
หน้าต่างแสดงการเพิ่ม
แก้ไขและลบข้อมูลวัตถุดิบของเจ้าของโรงงาน
หน้าต่างการขอดูจำนวนวัตถุดิบของพนักงานทั่วไป
ขั้นตอนที่ 6
การติดตั้งและพัฒนา
เป็นขั้นตอนในการนำข้อมูลเฉพาะของการออกแบบมาทำการเขียนโปรแกรมเพื่อให้เป็นไปตามคุณลักษณะ
และรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้กำหนดไว้ หลังจากเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว นักวิเคราะห์จะต้องทำการทดสอบโปรแกรม ตรวจสอบหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมา และสุดท้ายคือการติดตั้งระบบไม่ว่าจะเป็นระบบใหม่หรือเป็นการพัฒนาระบบเดิมที่มีอยู่แล้ว
โดยทำการติดตั้งตัวโปรแกรม
ติดตั้งอุปกรณ์พร้อมทั้งจัดทำคู่มือและจัดเตรียมหลักสูตรอบรมให้แก่ผู้ใช้งานที่เกี่ยวข้อง
หลังจากนั้นจะต้องมีการทดสอบโปรแกรมเพื่อหาข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นและทำการแก้ไขในเบื้องต้น
เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบแล้ว กิจกรรมต่อไปคือ การติดตั้งระบบใหม่
พร้อมทั้งจัดทำคู่มือประกอบการใช้โปรแกรม
จัดหลักสูตรฝึกอบรมผู้ใช้ระบบและคอยช่วยเหลือในระหว่างการทำงาน เมื่อผ่านการขั้นตอนต่าง ๆ
ไมว่าจะเป็นการศึกษา การวิเคราะห์และการอกแบบระบบ ซึ่ง
เป็นขั้นตอนใหญ่ที่มีความสำคัญมากในการที่ระบบ สำหรับขั้นตอนหลัง จากผ่านการวิเคราะห์และออกแบบระบบมาแล้ว คือ การติดตั้งระบบที่ได้มีการศึกษาวิเคราะห์และออกแบบเรียบร้อยแล้ว
ซึ่งได้แก่การวางแผน การติดตั้งระบบใหม่ที่ได้ทำการพัฒนามาแล้ว
ซึ่งจะได้ศึกษากันในบทนี้การวางแผนการติดตั้งระบบ
วิธีการติดตั้ง
เป็นการติดตั้งแบบกระจายศูนย์
สามารถใช้ได้ในทุกที่ที่มีคอมพิวเตอร์ที่ได้ติดตั้งโปรแกรมไว้
ขั้นตอนที่ 7
ขั้นตอนการซ่อมบำรุงระบบ
เป็นขั้นตอนเพื่อการดูแลระบบเมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น
และต้องทำการแก้ไขข้อผิดพลาดนั้น
รวมทั้งเป็นขั้นตอนเพื่อการปรับปรุงดัดแปลงหรือแก้ไขทั้งโปรแกรม
นอกจากนี้ยังปรับปรุงให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ที่เพิ่มขึ้นอยู่เสมอ เช่น
รูปแบบการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปหรือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
กิจกรรมการซ่อมบำรุง มี 4 ขั้นตอน
1. เก็บรวบรวมคำร้องขอให้ปรับปรุงระบบ
2. วิเคราะห์ข้อมูลการร้องขอเพื่อการปรับปรุง
3. ออกแบบการทำงานที่ต้องงการปรับปรุง
4. ปรับปรุงระบบ
การซ่อมบำรุงอาจเกิดค่าใช้จ่าย
1.ปริมาณการใช้งานของโปรแกรมต่อวัน
2.จำนวนข้อมูลที่ได้รับต่อวัน
3.อุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบำรุง
ทางทีมงานตั้งใจที่จะซ่อมบำรุงระบบให้มีประสิทธิภาพสูงสุดทางทีมงานจึงคิดถึงการซ่อมบำรุงระยะยาวเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นอีกและให้ระบบสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น